สศท. 7 เผยผลศึกษาการบริหารจัดการ “ฟางข้าว” ในพื้นที่ 8 จังหวัดภาคกลาง เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม 27 พ.ย. 202327 พ.ย. 2023 สศท. 7 เผยผลศึกษาการบริหารจัดการ “ฟางข้าว” ปี 2566 เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มในพื้นที่ 8 จังหวัดภาคกลาง ซึ่งฟางข้าวนับเป็นวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรที่สำคัญและมีปริมาณมาก สามารถนำมาใช้ประโยชน์ในรูปแบบต่าง ๆ รวมถึงช่วยลดต้นทุนทางการเกษตร opabo27 พ.ย. 2023
กรมส่งเสริมการเกษตร แนะชาวสวนไม้ผล จัดการสวนที่ถูกน้ำท่วมอย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ 4 พ.ย. 20234 พ.ย. 2023 กรมส่งเสริมการเกษตร แนะชาวสวนไม้ผล จัดการสวนที่ถูกน้ำท่วมอย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ หลังจากมีฝนตกหนักบางพื้นที่ และมีฝนกระจายต่อเนื่อง ตั้งแต่เดือนกันยายน 2566 จนถึงปัจจุบัน ส่งผลให้พื้นที่สวนผลไม้ในภาคตะวันออกที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจของประเทศถูกน้ำท่วม opabo4 พ.ย. 2023
ม.มหิดล จัดทำฐานข้อมูลเตือนอันตรายการบริโภคสมุนไพรร่วมกับยาแผนปัจจุบัน 2 พ.ย. 20232 พ.ย. 2023 รู้หรือไม่..ผู้ป่วยที่รับประทานผลิตภัณฑ์สมุนไพร และยาแผนปัจจุบันพร้อมกัน โดยขาดความรู้ความเข้าใจ อาจเกิดเป็นอันตรายจากการเกิด “อันตรกิริยาระหว่างสมุนไพรกับยาแผนปัจจุบัน” ซึ่งเป็นได้ทั้งการเสริมและต้านฤทธิ์กันของยาทั้ง 2 ขนาน. …ม.มหิดล จัดทำฐานข้อมูลเตือนอันตรายจากการบริโภคสมุนไพรร่วมกับยาแผนปัจจุบัน opabo2 พ.ย. 2023
เปิดแนวคิด จาก ส.ป.ก. 4-01สู่…ส.ป.ก.ครุฑน้ำเงิน เป็น “โฉนดเพื่อเกษตรกรรม” 24 ต.ค. 202324 ต.ค. 2023 เปิดแนวคิด จาก ส.ป.ก. 4-01สู่ “โฉนดเพื่อเกษตรกรรม” opabo24 ต.ค. 2023
เปิด 11 หลักการ แปลง ส.ป.ก.4-01เป็น โฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม 15 ต.ค. 202315 ต.ค. 2023 เปิด 11 หลักการ แปลง ส.ป.ก.4-01เป็น โฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม และส.ป.ก. จะดำเนินการในการออกเอกสารสิทธิในรูปแบบโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรมในทุกจังหวัดภายใน 1 ปี และจะดำเนินการปรับปรุงเอกสารสิทธิให้กับเกษตรกรที่มีคุณสมบัติครบภายใน 5 ปี opabo15 ต.ค. 2023
ผงะ โซลาร์เซลล์สูบน้ำ กอ.รมน. งบ 35 ล้าน สร้างเสร็จมาแล้ว 6 ปีไม่ใช้ ทิ้งไว้ให้หญ้าขึ้นรกรุงรัง 2 ต.ค. 20232 ต.ค. 2023 ผงะ โซลาร์เซลล์สูบน้ำ กอ.รมน. งบ 35 ล้านบาท สร้างเสร็จไม่ใช้ เหตุเกิดจากปั้มน้ำรั่ว สูบน้ำไม่ขึ้น ทิ้งไว้ให้หญ้าขึ้นรกรุงรัง 6 ปี opabo2 ต.ค. 2023
รู้หรือไม่…”ทุ่งลาวามอสแห่งไอซ์แลนด์“ สิ่งมีชีวิตอันเปราะบาง บนพื้นที่ไร้ชีวิต ที่ผู้ไปเยี่ยมชมไม่ควรแตะต้อง 2 ต.ค. 20232 ต.ค. 2023 ทุ่งลาวามอส ไอซ์แลนด์ หนึ่งในสถานที่มหัศจรรย์ทางธรรมชาติของโลก ท่ามกลางความตายที่ไม่มีชีวิตไหนเติบโตได้ แต่สิ่งมีชีวิตเล็ก ๆ นี้กลับงอกเงยครอบคลุมพื้นที่ขนาดใหญ่ถึง 565 ตารางกิโลเมตร กระนั้นพวกมันก็กลับเปราะบางจากการโดนทับหรือเหยียบจากสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ nantnaphat2 ต.ค. 2023
พาชมอัญมณีไพร แดนใต้ที่อุดมสมบูรณ์ที่สุดอีกผืนของไทย “ผืนป่าฮาลา-บาลา” จุดที่พบนกเงือกได้มากถึง 10 ชนิด จาก 13 ชนิดที่พบในประเทศไทย 29 ก.ย. 202329 ก.ย. 2023 เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าฮาลา-บาลา จ.นราธิวาส มีเนื้อที่ประมาณ 391,698 ไร่ ได้รับการจัดตั้งอย่างเป็นทางการเมื่อ พ.ศ. 2539 ตั้งอยู่แนวชายแดนไทย-มาเลเซีย ป่าฮาลา-บาลา ถือว่าเป็นจุดชมนกเงือกที่เหล่านักดูนกใฝ่ฝัน เพราะนกเงือก 13 ชนิดที่พบในประเทศไทย สามารถพบเห็นได้ที่ป่าฮาลา-บาลาถึง 10 ชนิด opabo29 ก.ย. 2023
รู้จัก..”เอื้องศิริชัย” กล้วยไม้ดิน 24 ก.ย. 202324 ก.ย. 2023 รู้จัก..”เอื้องศิริชัย” กล้วยไม้ดิน ตีพิมพ์ในหนังสือพรรณพฤกษชาติประเทศไทยกล้วยไม้ Flora of Thailand เล่ม 12 (2) ปี 2014 คำระบุชนิด ‘sirichaii’ ตั้งขึ้นเพื่อเป็นเกียรติแก่นายศิริชัย รักซื่อ เจ้าหน้าที่ผู้ศึกษากล้วยไม้ในอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน โดยให้ชื่อไทยว่า ‘เอื้องศิริชัย’ opabo24 ก.ย. 2023
ม.มหิดลพบครั้งแรก สารสกัดจาก เมล็ดงาม้อนต้านอักเสบ ต้านการก่อมะเร็งลำไส้ใหญ่ 16 ก.ย. 202316 ก.ย. 2023 “เมล็ดงาม้อน” ในแวดวงอาหาร ปัจจุบันนิยมใช้เป็นส่วนประกอบสำคัญของ “ซุปเปอร์ฟู้ด” … ม.มหิดล พบครั้งแรก สารสกัดจาก’เมล็ดงาม้อน’ต้านอักเสบ ต้านการก่อมะเร็งลำไส้ใหญ่ opabo16 ก.ย. 2023
“หญ้าน้ำค้าง”…พรมแดงธรรมชาติ เพชฌฆาตแมลง 12 ก.ย. 202312 ก.ย. 2023 นอกจากความสวยงามของกลุ่มหินเทิบบนอุทยานแห่งชาติภูผาเทิบ หากนักท่องเที่ยวสังเกตระหว่างเส้นทางเดิน จะพบต้นหญ้าสีแดงสะดุดตาตามลานหิน บางพื้นขึ้นอย่างหนาแน่นสีแดงเป็นแนวยาว เหมือนเป็นพรมแดงตามธรรมชาติที่สวยงาม คอยต้อนรับนักท่องเที่ยวที่มาเยือน บันทึกของพรรณไม้วันนี้เราจะมาทำความรู้จัก “หญ้าน้ำค้าง” ให้มากขึ้นกัน opabo12 ก.ย. 2023
ข้าวก่ำล้านนา…คุณค่าทางโภชนาการสูง 5 ก.ย. 20235 ก.ย. 2023 มาทำความรู้จัก..”ข้าวก่ำล้านนา”ปลูกในฤดูนาปีในพื้นที่ภาคเหนือตอนบน 8 จังหวัด เป็นข้าวซึ่งมีคุณค่าทางโภชนาการสูง opabo5 ก.ย. 2023