“ค่าฝุ่นยังอ่วม ภาคเหนือ-กทม.” รมช.ไชยา สั่งระดมทำฝนหลวงต่อเนื่อง และใช้เทคนิคการลดอุณหภูมิชั้นบรรยากาศผกผัน ช่วยลดความหนาแน่นของฝุ่น และเทคนิคเลี้ยงเมฆเพื่อดูดซับ-ระบายฝุ่นละออง

“ค่าฝุ่นยังอ่วม ภาคเหนือ-กทม.” รมช.ไชยา สั่งระดมทำฝนหลวงต่อเนื่อง และใช้เทคนิคการลดอุณหภูมิชั้นบรรยากาศผกผัน ช่วยลดความหนาแน่นของฝุ่น และเทคนิคเลี้ยงเมฆเพื่อดูดซับ-ระบายฝุ่นละออง พบว่า หลังปฏิบัติการ ปริมาณฝุ่นละอองในพื้นที่ภาคเหนือ กรุงเทพฯ – ปริมณฑล มีแนวโน้มลดลง

opabo

13 ก.พ. 2024

มารู้จัก 8 ชนิดต้นไม้ บำบัดฝุ่น PM 2.5

มีต้นไม้หลายชนิดที่สามารถช่วยดูดซับสารพิษจากอากาศ ช่วยฟอกอากาศให้บริสุทธิ์ได้ ซึ่งในงานวิจัยได้คัดเลือกพืชหลายชนิดที่สามารถปลูกได้ทั้งในบ้านและนอกบ้าน และเป็นต้นไม้พื้นถิ่นในเขตร้อนที่สามารถปลูกได้ดีในเมืองไทย เพื่อนำมาทดสอบประสิทธิภาพการบำบัดฝุ่นละออง PM 2.5 พบว่ามีพืช 8 ชนิดที่สามารถบำบัดฝุ่นละอองในอากาศได้ดี ..มาทำความรู้จักกัน

opabo

16 เม.ย. 2023

รู้หรือไม่…มี 10 ต้นไม้ ปลูกไว้ ช่วยลดฝุ่น PM2.5 ได้

ต้นไม้ที่เหมาะแก่การดักจับฝุ่นละอองเป็นพิเศษจะต้องเป็นต้นไม้ที่โตเร็ว ผิวใบไม่เรียบ มีขนหรือไขปกคลุม ส่วนเรื่องของความหนาแน่นของพุ่มใบก็มีส่วน เพราะมันเพิ่มพื้นที่ผิวที่จะดักจับฝุ่น ดังนั้น ใครที่จะปลูกต้นไม้เพื่อลดฝุ่นก็ต้องนึกถึงสิ่งนี้ และก็ต้องดูด้วยว่าต้นไม้เหล่านั้นเหมาะกับการปลูกที่ไหนด้วย 

nantnaphat

7 มี.ค. 2023

กรมปศุสัตว์ขานรับนโยบาย “การแก้ไขปัญหามลพิษด้านฝุ่นละออง” ทุกหน่วยเดินหน้าสั่งห้ามเผา ลดปัญหาฝุ่น PM 2.5

ตามที่ ดร.เฉลิมชัย ศรีอ่อน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้มีนโยบายเร่งด่วนให้ทุกหน่วยงานร่วมกันแก้ไขปัญหามลพิษด้านฝุ่นละออง ซึ่งเป็นวาระแห่งชาตินั้น นายสัตวแพทย์สมชวน รัตนมังคลานนท์ อธิบดีกรมปศุสัตว์ ได้มีข้อสั่งการถึงทุกหน่วยงานของกรมปศุสัตว์ ร่วมกันรณรงค์และแก้ไขปัญหามลพิษด้านฝุ่นละออง 

nantnaphat

8 ก.พ. 2023

‘กรุงธากา’ รั้งอันดับ 1 เมืองมี ‘มลพิษทางอากาศ’ มากสุดในโลก

ยูเอ็นบี (UNB) สำนักข่าวเอกชนชั้นนำของบังกลาเทศ รายงานว่าเมืองหลวงของประเทศอย่างกรุงธากาครองอันดับหนึ่งในบรรดาเมืองที่มีคุณภาพอากาศย่ำแย่ที่สุดในโลกอีกครั้ง ด้วยค่าดัชนีคุณภาพอากาศ(AQI) อยู่ที่ 251 เมื่อนับถึง 08.53 น. ของวันพฤหัสบดี (22 ธ.ค.) ตามเวลาท้องถิ่น

nantnaphat

22 ธ.ค. 2022

ศึกษาพบ ‘ผงฝุ่นเขม่าดำ’ กระทบความยั่งยืนของน้ำ บนที่ราบสูงชิงไห่-ทิเบต

สถาบันสภาพแวดล้อมเชิงนิเวศวิทยาและทรัพยากรซีเป่ย หรือเอ็นไออีอีอาร์(NIEER) สังกัดสถาบันบัณฑิตวิทยาศาสตร์จีน รายงานว่าทีมวิจัยนานาชาติค้นพบว่าผงฝุ่นเขม่าดำ (black carbon) หรือผงเขม่าที่เกิดจากกระบวนการเผาไหม้ต่างๆ ส่งผลกระทบต่อความยั่งยืนของน้ำบนที่ราบสูงชิงไห่-ทิเบต

nantnaphat

11 ธ.ค. 2022