opabo

12 ม.ค. 2024

ม.มหิดล คิดค้น ‘สมการประเมินคาร์บอนเครดิต’ลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกเชิงลึก

สิ่งสำคัญที่ซ่อนอยู่ในพื้นที่เพาะปลูกต้นยางพาราซึ่งไม่แพ้มูลค่าการส่งออก คือ “ค่าคาร์บอนเครดิต” หรือตัวเลขของการ “ปล่อย” หรือ “กักเก็บ” ก๊าซเรือนกระจกในระดับโครงการ ซึ่งวัดออกมาเป็นหน่วยของ “ตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า” ที่องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน) หรือ อบก. กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กำหนดให้สามารถซื้อขายเพื่อสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจได้ ล่าสุด ม.มหิดล คิดค้น ‘สมการประเมินคาร์บอนเครดิต’ลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกเชิงลึก

opabo

6 ก.ย. 2023

กรมวิชาการเกษตร-ภาคเอกชน นำร่องจัดทำ Baseline การปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกในพืชเศรษฐกิจหลัก

กรมวิชาการเกษตร องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก(องค์การมหาชน) สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ(องค์การมหาชน)องค์กรความร่วมมือของประเทศเยอรมนี (GIZ)ร่วมกับภาคเอกชนนำร่องจัดทำ Baseline การปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกในพืชเศรษฐกิจหลัก อ้อยยางพารา ปาล์มน้ำมัน มันสำปะหลัง ไม้ผล (ทุเรียน มะม่วง)

nantnaphat

21 ก.พ. 2023

กรมพัฒนาที่ดิน Kick Off “ไถกลบแทนเผา บรรเทามลพิษ พิชิตหมอกควัน”หนุนเกษตรกรใน 56 จังหวัด เป้าหมายทำเกษตรรักษ์โลกไม่เผาฟางและตอซังพืช

ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์“ประยูร  อินสกุล”เป็นประธาน Kick Off กิจกรรม“ไถกลบแทนเผาบรรเทามลพิษ พิชิตหมอกควัน” เป้าหมายลดการปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์สุทธิให้เป็นศูนย์ภายในปี พ.ศ. 2613 เดินหน้าเต็มที่พร้อมกันทั่วประเทศ แก้ปัญหาการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการเผาวัสดุทางการเกษตร

nantnaphat

24 ม.ค. 2023

กรมวิชาการเกษตรลุยวิจัยพืชไร่ดูดซับก๊าซเรือนกระจกและกักเก็บคาร์บอน พบพันธุ์อ้อยให้ผลผลิตสูงมีศักยภาพกักเก็บคาร์บอน

นายระพีภัทร์  จันทรศรีวงศ์ อธิบดีกรมวิชาการเกษตร เปิดเผยว่า กรมวิชาการเกษตรได้ให้ความสำคัญกับการศึกษาวิจัยพืชไร่เศรษฐกิจที่สำคัญของประเทศไทยที่มีศักยภาพในการดูดซับก๊าซเรือนกระจกและกักเก็บคาร์บอนไว้ในพืชและในดินเพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมในการร่วมมือเพื่อป้องกันปัญหาภาวะโลกร้อน (Global Warming) และการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ (Climate Change) ซึ่งเป็นบทบาทและภารกิจที่สำคัญประการหนึ่งของกรมวิชาการเกษตร 

nantnaphat

12 ม.ค. 2023

กรมวิชาการเกษตรชูมันสำปะหลังพืชไร่ศักยภาพสูงดูดซับก๊าซเรือนกระจก

นายระพีภัทร์ จันทรศรีวงศ์ อธิบดีกรมวิชาการเกษตร เปิดเผยว่า บทบาทภารกิจที่สำคัญอีกด้านหนึ่งของกรมวิชาการเกษตรคือการศึกษาวิจัยชนิดพืชที่มีศักยภาพในการดูดซับก๊าซเรือนกระจกโดยเฉพาะก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ และการกักเก็บคาร์บอนไว้ในส่วนต่าง ๆ ของพืช  เพื่อรับมือเตรียมความพร้อมในการร่วมกันป้องกันกับปัญหาภาวะโลกร้อน (Global Warming) และการเปลี่ยนแปลงสภาพสภาพภูมิอากาศ (Climate Change) ซึ่งนอกจากพื้นที่ป่าไม้แล้วพื้นที่เพาะปลูกพืชยังเป็นแหล่งดูดซับก๊าซเรือนกระจกที่สำคัญเช่นกัน

nantnaphat

6 ม.ค. 2023

ไทย-เยอรมนี ร่วมมือภาคเกษตรลดโลกร้อน ลดปริมาณก๊าซเรือนกระจกได้มากถึง 915,053 ตัน

ไทยร่วมมือเยอรมนี ประกาศความสำเร็จโครงการข้าวลดโลกร้อน เพิ่มศักยภาพภาคเกษตร ลดผลกระทบการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ลดปริมาณก๊าซเรือนกระจกได้มากถึง 915,053 ตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า

nantnaphat

7 ธ.ค. 2022

กรมวิชาการเกษตรมุ่งสู่เกษตรคาร์บอนต่ำ เตรียม MOU ถ่ายทอดเทคโนโลยีคาร์บอนเครดิต

กรมวิชาการเกษตรมุ่งสู่เกษตรคาร์บอนต่ำเตรียมทำ MOU กับองค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก(องค์การมหาชน) พร้อมพัฒนา การถ่ายทอดเทคโนโลยีการจัดการคาร์บอนเครดิต รวมทั้งเสริมสร้างการตอบสนองต่อภัยคุกคามจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลกได้อย่างยั่งยืน

nantnaphat

22 ก.ค. 2022