เปิด 17 ธาตุอาหารพืช จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช 10 ต.ค. 202210 ต.ค. 2022 พืชมีความต้องการธาตุอาหารเพื่อดำรงชีวิต เช่นเดียวกับมนุษย์และสัตว์ พืชสร้างอาหารโดยการนำธาตุต่าง ๆ ที่มีอยู่ในน้ำ อากาศ และในดิน มาผ่านกระบวนการสังเคราะห์แสงที่ใบจะได้น้ำตาล แล้วพืชจะนำไปรวมกับแร่ธาตุชนิดอื่น ๆ ที่ดูดขึ้นมาจากดินเพื่อสร้างแป้ง โปรตีน ไขมัน เอนไซม์ ฮอร์โมน ฯลฯ สำหรับใช้ในการเจริญเติบโตต่อไป opabo10 ต.ค. 2022
“เอกสารสิทธิ์ที่ดิน”สำหรับใช้ประกอบการรับรองแหล่งผลิต GAP พืชและพืชอินทรีย์ตามภารกิจความรับผิดซอบของกรมวิชาการเกษตร 8 ต.ค. 20221 ส.ค. 2023 การรับรองในพื้นที่ ที่ กุษตรกรเป็นเจ้าของพื้นที่และมีเอกสารสิทธิ์ เป็นของตัวเอง +โฉนดที่ดิน (น.ส.4, น.ส.4ก, น.ส.4ข, น.ส.4ค, น.ส.4ง, น.ส.4จ) +โฉนดแผนที่,โฉนดตราจอง,ตราจองที่ตราว่าได้ทำประโยชน์แล้ว nantnaphat8 ต.ค. 2022
กรมส่งเสริมการเกษตร ฉลองสถาปนาครบ 55 ปี จัดใหญ่ ภายใต้แนวคิดการทำงาน “Keep Going, Keep Growing” 7 ต.ค. 20227 ต.ค. 2022 ครบรอบ 55 ปี กรมส่งเสริมการเกษตร ย้ำแนวคิดการทำงาน “Keep Going, Keep Growing” opabo7 ต.ค. 2022
เปิดตัวนวัตกรรม “ฟิล์มเจาะรูขนาดไมครอน” ตัวช่วยยืดอายุผักและผลไม้ 27 ก.ย. 202227 ก.ย. 2022 เปิดตัวนวัตกรรมฟิล์มเจาะรูขนาดไมครอนยืดอายุการเก็บรักษาผักและผลไม้ให้นานขึ้น ช่วยเพิ่มโอกาสในการขายสินค้าของเกษตรกรและผู้ประกอบการ ทำให้สามารถเก็บรักษาผลผลิตวางจำหน่ายได้นานยิ่งขึ้น opabo27 ก.ย. 2022
กักเก็บคาร์บอนในดิน ส่งผลเกิดความยั่งยืนในการปลูกพืช 25 ก.ย. 202225 ก.ย. 2022 การกักเก็บคาร์บอนในดิน (soil carbon sequestration)หมายถึงกระบวนการเปลี่ยนแปลงก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากบรรยากาศมากักเก็บไว้ในดิน เพื่อลดการเพิ่มขึ้นของก๊าซคาร์บอนไดอกไซด์ในบรรยากาศ โดยอาศัยกระบวนการสังเคราะห์แสงของพืช ช่วยในการลดการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกสู่บรรยากาศ ซึ่งเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำเกิดสภาวะโลกร้อน…คาร์บอนที่ถูกกักเก็บไว้ในดิน มีส่วนช่วยในการทำให้เกิดเม็ดดินที่เสถียร มีการระบายอากาศดีขึ้นและมีความจุในการอุ้มน้ำดีขึ้น ส่งผลต่อความอุดมสมบูรณ์ของดินและธาตุอาหารพืช เกิดความยั่งยืนในระบบการปลูกพืช opabo25 ก.ย. 2022
“ปุ๋ยคีเลตจุลธาตุอาหาร” นวัตกรรมลงสวนทุเรียน-นาข้าว ตอบ BCG ช่วยชาวนาเพิ่มผลผลิตข้าวต่อไร่ 25-50% 25 ก.ย. 202225 ก.ย. 2022 หลังประสบความสำเร็จจากการต่อยอดงานวิจัยสู่ผลิตภัณฑ์ “ปุ๋ยคีเลต” เพิ่มผลผลิตให้กับสวนทุเรียน นักวิจัยนาโนเทค สวทช. ต่อยอดผลิตภัณฑ์ที่ใช้นวัตกรรมนี้ ลงนาข้าว ช่วยชาวนาเพิ่มผลผลิต 25-50% ต่อไร่ ด้วยจุดเด่นในการเพิ่มประสิทธิภาพการดูดซึมจุลธาตุอาหารเข้าสู่พืช ตอบนโยบาย BCG ที่ “ทำน้อยได้มาก” opabo25 ก.ย. 2022
ภัยร้ายของ”สารเคมี”ต่อการดื้อยาของแมลง 25 ก.ย. 202225 ก.ย. 2022 การป้องกันกำจัดแมลงยังคงมีการศึกษาหาวิธีการที่หลากหลาย แต่วิธีที่เกษตรกรนิยมปฏิบัติ คือ การใช้สารเคมีทางการเกษตร ทำให้ส่งผลเสียอย่างมากต่อตัวเกษตรกร เกิดการเจ็บป่วย มีสารตกค้างในผลผลิต นอกจากนี้การใช้สารเคมีผิดวิธีหรือใช้อัตราที่ไม่เหมาะสมนั้น ทำให้แมลงสร้างกลไกขึ้นมาเพื่อต้านทานสารเคมีชนิดนั้น ซึ่งส่งผลให้แมลงเกิดความต้านทานหรือดื้อยาในรุ่นลูกหลาน opabo25 ก.ย. 2022
กรมส่งเสริมการเกษตร หนุนชาวนาจัดการศัตรูข้าวด้วย 4+1 เทคโนโลยี 24 ก.ย. 202224 ก.ย. 2022 กรมส่งเสริมการเกษตร หนุนชาวนาจัดการศัตรูข้าวด้วย 4+1 เทคโนโลยี โชว์ความสำเร็จพื้นที่นำร่องที่สุพรรณบุรี opabo24 ก.ย. 2022
2 ปุ๋ยชีวภาพ ช่วยสลายฟอสฟอรัสในดิน เพิ่มปริมาณ-คุณภาพผลผลิต ต้านโรค ทนแล้ง 20 ก.ย. 202220 ก.ย. 2022 กรมวิชาการเกษตร แนะเกษตรกรลดต้นทุนเพิ่มคุณภาพผลผลิตด้วย 2 ปุ๋ยชีวภาพไมโคไรซาและละลายฟอสเฟต ตัวช่วยสลายฟอสฟอรัสธาตุอาหารสำคัญของพืชที่ถูกตรึงอยู่ในดินออกมาให้พืชใช้ประโยชน์อีกครั้ง ช่วยเพิ่มทั้งปริมาณและคุณภาพผลผลิต แถมเป็นวัคซีนต้านโรครากเน่า ทนแล้ง ลดต้นทุนใช้ปุ๋ยเคมี สุดคุ้มใส่เพียงครั้งเดียวอยู่ได้ตลอดชีวิตพืช ชงใช้ 2 ปุ๋ยร่วมกันเพิ่มประสิทธิภาพคูณ 2 ทำงานเสริมกันทั้งในรากและนอกราก opabo20 ก.ย. 2022
“เกษตรผสมผสาน”ทางออกดีที่สุดและได้ผลเร็วที่สุด ในมุมมอง”ลุงแสวง” 17 ก.ย. 202217 ก.ย. 2022 “เกษตรผสมผสาน”เป็นทางออกที่ดีที่สุดและได้ผลเร็วที่สุดของ ลุงแสวง สวนเกษตรเป็นเสมือนห้างสรรพสินค้าใกล้บ้านที่มีทุกสิ่งให้เลือกสรร ไม่เพียงแต่ตนเองและครอบครัว แต่ยังเผื่อแผ่ไปถึงเพื่อนบ้านในหมู่บ้านอีกด้วย opabo17 ก.ย. 2022
ชาวสวนเฝ้าระวัง 2 ด้วงแท็กทีมบุกสวนอินทผลัม 17 ก.ย. 202217 ก.ย. 2022 เตือนชาวสวนเฝ้าระวัง 2 ด้วง แท็กทีมบุกสวนอินทผลัม โดยด้วงแรดมะพร้าวจะเป็นศัตรูด่านหน้าเข้าไปเจาะกินก่อน หลังจากนั้นด้วงงวงมะพร้าวตามเข้ามาทำลาย opabo17 ก.ย. 2022
ทำความรู้จัก “ครั่ง” แมลงเศรษฐกิจ อาชีพทางเลือกที่มั่นคงเกษตรกร 15 ก.ย. 202215 ก.ย. 2022 ทำความรู้จัก “ครั่ง” แมลงเศรษฐกิจ อาชีพทางเลือกที่มั่นคงเกษตรกร โดยปัจจุบันทั้งตลาดในประเทศและตลาดโลกยังคงมีความต้องการ “ครั่ง” อยู่มาก เนื่องจากครั่ง เป็นสารธรรมชาติ มีลักษณะเป็นยางหรือชันที่ได้จากแมลงครั่ง เมื่อนำครั่งมาแปรรูปจะได้เป็นเชลแลคซึ่งเป็นวัตถุดิบสำคัญในอุตสาหกรรมต่าง ๆ เช่น อุตสาหกรรมยา ผลไม้ opabo15 ก.ย. 2022