ชลประทานเตรียมชะลอน้ำเหนือเขื่อนเจ้าพระยา ลดผลกระทบพื้นที่ตอนล่าง 

กรมชลประทานเตรียมชะลอปริมาณน้ำที่ไหลหลากมาจากตอนบน โดยใช้พื้นที่ว่างบริเวณเหนือเขื่อนเจ้าพระยา ส่งผลให้ 3 จังหวัด เหนือเขื่อนระดับน้ำจ่อสูงขึ้น 

nantnaphat

5 ต.ค. 2022

กรมชลประทานแจงแผนบริหารจัดการน้ำ อ.บางบาล ลดความเดือดร้อน จ.พระนครศรีอยุธยา

กรมชลประทานชี้แจงกรณีราษฎรในเขตตำบลบางหลวงโดด และ ตำบลบางหลวง อำเภอบางบาล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ประท้วงโดยทำการปิดถนนเส้น ผักไห่-บางบาล บริเวณคันกั้นน้ำชลประทานริมคลองโผงเผง เพื่อกดดันให้กรมชลประทานเปิดประตูระบายน้ำริมคลองโผงเผง เข้าทุ่งป่าโมกเพิ่มเติม เพื่อบรรเทาความเดือดร้อนของราษฎร นอกคันกั้นน้ำริมคลองโผงเผง นั้น

nantnaphat

5 ต.ค. 2022

สภาพอากาศวันนี้ยังคงมีฝนตกหนักในหลายพื้นที่ ขณะที่ กอนช.เตือนประชาชนลุ่มน้ำป่าสักและเจ้าพระยา เตรียมตัวรับน้ำหลากจากภาคเหนือที่ยังมีฝนตกหนัก

ประกาศ กองอำนวยการน้ำแห่งชาติ ฉบับที่ 45/2565 เรื่อง เฝ้าระวังระดับน้ำบริเวณแม่น้ำเจ้าพระยา เนื่องจากอิทธิพลของพายุโซนร้อน “โนรู” ในช่วงวันที่ 28 – 30 กันยายน 2565 ทำให้เกิดฝนตกหนักบริเวณภาคเหนือ และภาคกลาง ส่งผลให้มีน้ำท่าหลากลงสู่ลุ่มน้ำเจ้าพระยาและลุ่มน้ำป่าสัก ปริมาณมากขึ้น กองอำนวยการน้ำแห่งชาติ คาดการณ์ว่าจะมีปริมาณน้ำไหลผ่านบริเวณจังหวัดนครสวรรค์ (C.2) อยู่ในเกณฑ์ 2,600 – 2,700 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที แล้วไหลมารวมกับแม่น้ำสะแกกรังและลำน้ำสาขาไหลเข้าเขื่อนเจ้าพระยา 

nantnaphat

1 ต.ค. 2022

ชลประทานแจงอ่างเก็บน้ำเมืองโคราช 8 แห่ง ยังรับน้ำได้เต็มศักยภาพ ไม่ส่งผลกระทบพื้นที่ด้านท้าย

กรมชลประทานโดยสำนักงานชลประทานที่ 8 ได้ชี้แจงกรณีที่มีการเผยแพร่ข้อความแจ้งเตือนบนสื่อสังคมออนไลน์(Facebook) ว่า “โคราชล้นแล้ว 8 อ่างฯ พื้นที่ริมตลิ่งระวังน้ำท่วมฉับพลัน”นั้น

nantnaphat

30 ก.ย. 2022

ชลประทานยืนยันอ่างเก็บน้ำในพื้นที่ภาคอีสานใต้ยังมั่นคงแข็งแรงดี 

กรมชลประทาน ชี้แจงกรณีที่มีการแชร์ข้อความบนโลกออนไลน์(Facebook)ว่า “หายนะมาเยือนภาคอีสานใต้แล้ว อ่างเก็บน้ำล้นทุกอ่างแล้ว ณ เวลานี้ จะระบายท้ายอ่างก็อ่วม แต่ถ้าไม่ระบายอ่าง ก็จะได้รับความเสียหายจากปริมาตรน้ำที่จะเพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว” นั้น 

nantnaphat

27 ก.ย. 2022

ชลประทานสั่งเตรียมพร้อมรับมือพายุโซนร้อน“โนรุ (NORU)”

ดร.ทวีศักดิ์ ธนเดโชพล รองอธิบดีกรมชลประทาน ในฐานะโฆษกกรมชลประทาน เปิดเผยสถานการณ์ลุ่มน้ำเจ้าพระยาปัจจุบัน(25กันยายน 2565)เมื่อเวลา 06.00 น. ตรวจวัดปริมาณน้ำไหลผ่านสถานีวัดน้ำ C.2 จ.นครสวรรค์ มีปริมาณน้ำไหลผ่าน 1,968 ลูกบาศก์เมตร (ลบ.ม.) ต่อวินาที มีแนวโน้มลดลง สมทบกับแม่น้ำสะแกกรัง ผ่านสถานีวัดน้ำ Ct.19 จ.อุทัยธานี วัดได้ 130 ลบ.ม./วินาที นั้น

nantnaphat

25 ก.ย. 2022

ชลประทานเดินหน้าติดตั้งเครื่องสูบน้ำเพิ่ม เติมศักยภาพการระบายน้ำฝั่งตะวันออกของ กทม. 

กรมชลประทาน เดินหน้าติดตั้งเครื่องสูบน้ำและกำจัดสิ่งกีดขวางทางน้ำในคลองต่างๆ เพิ่มเติม  หวังเพิ่มศักยภาพในการระบายน้ำออกจากพื้นที่ฝั่งตะวันออกของกรุงเทพมหานครให้เร็วยิ่งขึ้น  บรรเทาความเดือนร้อนให้กับประชาชนให้มากที่สุด ตามนโยบายของ พล.อ.ประวิตร วงษ์สุวรรณ รองนายกรัฐมนตรีรักษาราชการแทนนายกรัฐมนตรี ในฐานะผู้อำนวยการกองอำนวยการน้ำแห่งชาติ(กอนช.)

nantnaphat

20 ก.ย. 2022

ชลประทานระดมเครื่องสูบน้ำเร่งระบายน้ำท่วมขังลงสู่”อ่าวไทย”

กรมชลประทาน ระดมเครื่องจักร เครื่องสูบน้ำ เร่งระบายน้ำออกจากพื้นที่น้ำท่วมในเขตรอยต่อกรุงเทพฯฝั่งตะวันออกและปริมณฑล ลงสู่ทะเลอ่าวไทย ตามข้อสั่งการของ ดร.เฉลิมชัย ศรีอ่อน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เพื่อบรรเทาความเดือนร้อนให้ประชาชนโดยเร็วที่สุด

nantnaphat

19 ก.ย. 2022

จ.ระยองเตือนประชาชนยกของขึ้นที่สูง ด้านชลประทานประเมินน้ำในคลองทับมา หลากผ่านเมืองรอบนี้สูงกว่ารอบท่วมครั้งก่อน 30-50 ซม. 

นาย ศุภชัย นำนาผล ผู้อำนวยการโครงการชลประทานระยอง บอกว่า ระดับน้ำในคลองทับมา ที่สถานีวัดระดับน้ำบ้านเขาโบสถ์ สูงขึ้น มาแตะที่ 3.80 เมตร และดูจากกร๊าฟพบว่า ระดับน้ำที่ไหลผ่านจุดนี้กำลังจะนิ่ง นั่นหมายความว่า ระดับน้ำจะเริ่มทรงตัว คาดว่าไม่เกิน 21.00 น. วันนี้(13/9/65) 

nantnaphat

13 ก.ย. 2022

“บิ๊กป้อม”ชื่นชมผลงานชลประทานเพื่อท้องถิ่น”อ่างเก็บน้ำแม่ตาช้าง จ.เชียงราย”

รักษาการแทนนายกรัฐมนตรี ชื่นชมผลงานเลิศรัฐ การแก้ปัญหาขาดแคลนน้ำด้วย “ชลประทานเพื่อท้องถิ่น” อ่างเก็บน้ำแม่ตาช้าง จ.เชียงราย พร้อมขอบคุณหน่วยงานเกี่ยวข้องที่ทุ่มเททำงานให้ประชาชนได้ประโยชน์สูงสุด 

nantnaphat

13 ก.ย. 2022

ชลประทานเร่งบริหารจัดการน้ำ ตาม 13 มาตรการรับมือฤดูฝนปี 2565

วันนี้ (12 ก.ย.65) ที่ศูนย์ปฏิบัติการน้ำอัจฉริยะ (SWOC) กรมชลประทาน ถนนสามเสน ดร.ทวีศักดิ์ ธนเดโชพล รองอธิบดีกรมชลประทาน เป็นประธานการประชุมคณะอนุกรรมการติดตามและวิเคราะห์แนวโน้มสถานการณ์น้ำ ผ่านระบบ Video Conference ไปยังสำนักงานชลประทานที่ 1-17 และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง อาทิ กรมอุตุนิยมวิทยา สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำ กรมทรัพยากรน้ำ กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย สำนักการระบายน้ำกรุงเทพมหานคร การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) เพื่อติดตามและวิเคราะห์สถานการณ์น้ำในอ่างเก็บน้ำ แหล่งน้ำ และแม่น้ำสายหลักต่าง ๆ สำหรับเป็นข้อมูลในการบริหารจัดการน้ำให้สอดคล้องและเหมาะสมในแต่ละพื้นที่

nantnaphat

12 ก.ย. 2022
1 2 3 4 7