วิจัยพบ ‘น้ำแข็งทะเลแอนตาร์กติก’ ลดต่ำเป็นประวัติการณ์

เมื่อไม่นานนี้ การศึกษาจากศูนย์ข้อมูลน้ำแข็งและหิมะแห่งชาติของสหรัฐฯ (NSIDC) เปิดเผยว่าขอบเขตน้ำแข็งในทะเลแอนตาร์กติกมีแนวโน้มลดแตะระดับต่ำสุดเป็นประวัติการณ์ในปีนี้

nantnaphat

4 มี.ค. 2023

กยท. นำทีมนักวิจัย เสนอผลงานวิชาการ ในเวที IRRDB ณ มาเลเซีย -ไทยพร้อมรับไม้ต่อเป็นเจ้าภาพการประชุมฯ ปลายปี 2023

กยท. นำทีมนักวิจัย เสนอผลงานวิชาการ ในเวที IRRDB ณ มาเลเซีย -ไทยพร้อมรับไม้ต่อเป็นเจ้าภาพการประชุมฯ ปลายปี 2023

opabo

24 ก.พ. 2023

นักวิจัยจีนพัฒนาต้นแบบ ‘โดรน’ บินกลางฟ้า แล่นใต้น้ำ

คณะนักวิจัยของจีนได้พัฒนาต้นแบบอากาศยาน 4 ใบพัด ซึ่งสามารถทะยานบินกลางอากาศและดำดิ่งใต้ผืนน้ำ ด้วยเป้าหมายสร้างยานพาหนะที่เหมาะสมกับการประยุกต์ใช้เป็นวงกว้าง

nantnaphat

13 ก.พ. 2023

นักวิจัยจีนไขปริศนา กลไกการสร้าง ‘รังไหมสีเขียว’

เมื่อไม่นานนี้ ผลการศึกษาจากมหาวิทยาลัยซีหนานของจีนซึ่งเผยแพร่ผ่านวารสารโมเลกูลาร์ ไบโอโลจีแอนด์ อีโวลูชัน (Molecular Biology and Evolution) เปิดเผยกลไกทางพันธุกรรมที่อยู่เบื้องหลังสีเขียวของรังไหม ซึ่งนับเป็นการค้นพบใหม่ด้านการแสดงสีทางชีวภาพ

nantnaphat

11 ก.พ. 2023

นักวิจัยสถาบันรุกขเวชและ ม.มหาสารคาม ค้นพบพืชสกุลขมิ้นชนิดใหม่ของโลก ตั้งชื่อ”กระเจียวบุณฑริก”

นักพฤกษศาสตร์ไทย นักวิจัยสถาบันวิจัยวลัยรุกขเวช ร่วมกับนักวิจัยจากคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (มมส) ค้นพบพืชสกุลขมิ้นชนิดใหม่ของโลก “กระเจียวบุณฑริก” ชื่อวิทยาศาสตร์“Curcuma pulcherrima Boonma, Saensouk & P. Saensouk”

nantnaphat

19 ม.ค. 2023

นักวิจัยออสซี่ค้นพบ ‘สุสานฉลาม’ ในมหาสมุทรอินเดีย

องค์การวิจัยวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรมแห่งเครือจักรภพของออสเตรเลีย เปิดเผยว่า คณะนักวิจัยบนเรือสำรวจอินเวสติเกเตอร์(Investigator) ได้ค้นพบ “สุสานฉลาม” แห่งหนึ่งบนพื้นมหาสมุทรอินเดียระหว่างการสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพของอุทยานทางทะเลใหม่ล่าสุดสองแห่งของประเทศ

nantnaphat

8 ธ.ค. 2022

นักวิจัยจีนฟื้นคืน‘กล้วยไม้ใกล้สูญพันธุ์’กลับสู่ป่าสำเร็จ

สำนักงานบริหารจุดชมวิวภูเขาเอ๋อเหมย(ง้อไบ๊) ในมณฑลซื่อชวน(เสฉวน) ทางตะวันตกเฉียงใต้ของจีน ระบุว่า คณะนักวิจัยจีนประสบความสำเร็จในการฟื้นคืนกล้วยไม้ป่าสายพันธุ์โฮลโคกลอสซัม โอมีเอ็นเซ(holcoglossum omeiense) ซึ่งเป็นกล้วยไม้ใกล้สูญพันธุ์บนพื้นที่ภูเขาเอ๋อเหมย กลับสู่ธรรมชาติเป็นครั้งแรก

nantnaphat

26 พ.ย. 2022

นักวิจัยกรมวิชาการเกษตรค้นพบเครื่องหมายโมเลกุลใหม่ต้านทาน”โรคใบด่าง”มันสำปะหลัง

นายระพีภัทร์  จันทรศรีวงศ์ อธิบดีกรมวิชาการเกษตร เปิดเผยว่า กรมวิชาการเกษตรมีเทคโนโลยีที่ช่วยร่นระยะเวลาการปรับปรุงพันธุ์มันสำปะหลังให้มีลักษณะดีโดยใช้เครื่องหมายโมเลกุล (Molecular marker) ซึ่งเป็นสารพันธุกรรมบ่งบอกเอกลักษณ์ประจำพันธุ์หรือบ่งชี้ยีนที่ควบคุมลักษณะต่างๆ ทำให้สามารถคัดเลือกพันธุ์พืชที่มีลักษณะที่ต้องการได้ โดยใช้เครื่องหมายโมเลกุลคัดเลือกพันธุ์มันสำปะหลังที่มีความต้านทานโรคใบด่างมันสำปะหลัง ไซยาไนด์ต่ำ และต้านทานโรครากปม

nantnaphat

11 ต.ค. 2022

นักวิจัยตรวจพบ‘มหาสมุทรอาร์กติก’เป็นกรดเร็ว หลังน้ำแข็งละลายจากโลกร้อน

กลุ่มนักวิจัยนานาชาติ นำโดยคณะนักวิทยาศาสตร์ของจีน เปิดเผยว่ามหาสมุทรอาร์กติกกำลังมีความเป็นกรดรวดเร็วกว่ามหาสมุทรเปิดแห่งอื่นๆ ของโลก เนื่องจากการละลายของน้ำแข็งทะเล

nantnaphat

3 ต.ค. 2022

ทีมนักวิจัยร่วมศึกษาปรากฎการณ์คลื่นทะเลหนุนที่แม่น้ำเฉียงถัง มณฑลเจ้อเจียง

นักวิจัยเฝ้าติดตามปรากฎการณ์คลื่นทะเลหนุนที่แม่น้ำเฉียนถัง (Qiantang) มณฑลเจ้อเจียง (Zhejiang) โดยการศึกษาปรากฎการณ์คลื่นทะเลหนุนที่แม่น้ำเฉียนถังปีนี้  ใช้นักวิจัยกว่า 50 คน ปักหลักสังเกตการณ์อยู่ตามริมฝั่งแม่น้ำนานกว่าครึ่งเดือน

nantnaphat

15 ก.ย. 2022

จีนพบ‘พืชใกล้สูญพันธุ์’ในเสฉวน หลังหายสาบสูญกว่าร้อยปี 

จีนค้นพบ “ยูโอนีมัส อะควีโฟเลียม” (Euonymus aquifolium) พืชใกล้สูญพันธุ์อย่างยิ่งอีกครั้ง หลังจากมีการค้นพบครั้งแรกในประเทศมากกว่า 110 ปีก่อน

nantnaphat

24 ส.ค. 2022

(มีคลิป)นักวิจัยจีนเพิ่งค้นพบ”ลุ่มน้ำแยงซี”เคยเป็นมหาสมุทร เมื่อ 438 ล้านปีก่อน 

งานวิจัยของนักบรรพชีวินวิทยาจีน จากสถาบันวิทยาศาสตร์จีน (CAS) ที่ตีพิมพ์ในวารสาร Stratigraphy วารสารวิชาการด้านวิทยาศาสตร์ธรรมชาติของจีน ระบุว่า  ลุ่มน้ำแยงซีทางใต้ของจีนเคยเป็นมหาสมุทรเมื่อประมาณ 438 ล้านปีก่อน

nantnaphat

1 ส.ค. 2022
1 2

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • คุกกี้ที่จำเป็น
    เปิดใช้งานตลอด

    ประเภทของคุกกี้มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้คุณสามารถใช้ได้อย่างเป็นปกติ และเข้าชมเว็บไซต์ คุณไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้

  • คุกกี้เพื่อการวิเคราะห์

    คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลการใช้งานเว็บไซต์ของคุณ เพื่อเป็นประโยชน์ในการวัดผล ปรับปรุง และพัฒนาประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ ถ้าหากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราจะไม่สามารถวัดผล ปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ได้
    รายละเอียดคุกกี้

บันทึกการตั้งค่า