กรมส่งเสริมการเกษตร ขยายผลงานวิจัยแหนแดงสู่เกษตรกร มุ่งเป้าลดต้นทุน เพิ่มผลผลิตอย่างได้ผล

กรมส่งเสริมการเกษตร ขยายผลงานวิจัยแหนแดงสู่เกษตรกร มุ่งเป้าลดต้นทุน เพิ่มผลผลิตอย่างได้ผล ใช้แหนแดง สายพันธุ์อะซอลล่า ไมโครฟิลล่า (Azolla microphylla) จากกรมวิชาการเกษตรไปขยายผลสู่เกษตรกร โดยแหนแดงสายพันธุ์นี้มีขนาดใหญ่ ขยายพันธุ์ได้เร็ว ให้ผลผลิตสูงกว่าสายพันธุ์พื้นเมืองถึง 10 เท่า ช่วยเพิ่มอินทรียวัตถุในดิน ปรับปรุงโครงสร้างดินให้ดีขึ้น หากใช้ผสมกับดินปลูกจะช่วยลดต้นทุนค่าปุ๋ยไนโตรเจนและธาตุอาหารชนิดอื่น เช่นโพแทสเซียมได้

opabo

28 มี.ค. 2024

แหนแดง คว้าแชมป์ปุ๋ยพืชสด ให้ธาตุอาหารสูงแซงพืชตระกูลถั่ว

แหนแดง คว้าแชมป์ปุ๋ยพืชสด ให้ธาตุอาหารสูงแซงพืชตะกูลถั่ว และแหนแดงพันธุ์กรมวิชาการเกษตร ที่มีลักษณะต้นใหญ่กว่าแหนแดงพันธุ์พื้นเมืองของบ้านเรา ให้ผลผลิตสูงกว่าพันธุ์พื้นเมืองถึง 10 เท่า และสามารถขยายพันธุ์ได้รวดเร็ว ภายใน 30 วัน จะให้ผลผลิตแหนแดงถึงไร่ละ 3 ตัน

opabo

5 ส.ค. 2023

สวก.จับมือภาคีเครือข่าย กสก.และ กวก. ชู “แหนแดง”แทนปุ๋ยไนโตรเจน ลดต้นทุนการผลิต ผ่านศูนย์จัดการดินปุ๋ยชุมชน  

สวก. จับมือภาคีเครือข่ายกรมส่งเสริมการเกษตรและกรมวิชาการเกษตร ชู “แหนแดง”แทนปุ๋ยไนโตรเจนลดต้นทุนการผลิต

opabo

21 ก.ค. 2023

กรมส่งเสริมการเกษตรหนุนใช้ “แหนแดง” สารพัดประโยชน์ด้านเกษตร

กรมส่งเสริมการเกษตร จับมือกรมวิชาการเกษตร และสวก. เปิดตัวโครงการขยายผลการผลิตและใช้แหนแดงเพื่อลดต้นทุนการผลิตสู่เกษตรกร พร้อมรับองค์ความรู้ และเทคโนโลยีถ่ายทอดสู่เกษตรกรเพื่อใช้ประโยชน์จากแหนแดงด้านการเกษตร ประมง และปศุสัตว์

opabo

17 ก.ค. 2023

อธิบดีกรมวิชาการเกษตร จับมือ อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร ขยายผลการผลิตและใช้แหนแดงเป็นปุ๋ยพืชสด เพิ่มความอุดมสมบูรณ์ของดิน ลดต้นทุนการผลิตสู่เกษตรกร

อธิบดีกรมวิชาการเกษตร จับมือ อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร ขยายผลการผลิตและใช้แหนแดงเป็นปุ๋ยพืชสด ลดต้นทุนการผลิตสู่เกษตรกร

opabo

17 ก.ค. 2023

กรมส่งเสริมการเกษตร สนับสนุนเกษตรกรใช้แหนแดงร่วมกับปุ๋ยเคมี ช่วยลดต้นทุนการผลิตภาคเกษตร

กรมส่งเสริมการเกษตร สนับสนุนเกษตรกรใช้แหนแดงร่วมกับปุ๋ยเคมี ช่วยลดต้นทุนการผลิตภาคเกษตรเป็นทั้งปุ๋ยและพืชอาหารสัตว์

opabo

8 เม.ย. 2023

“BCG-NAGA Belt Road” ชู “แหนแดง” ตัวช่วยลดต้นทุน – ลดการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก – ยกระดับการผลิตข้าวเหนียวลุ่มน้ำโขง

จากการศึกษาพบว่าการใช้แหนแดงในนาข้าวช่วยลดการใช้ปุ๋ยไนโตรเจนได้มากกว่าครึ่งหนึ่ง แต่ยังให้ผลผลิตในปริมาณคงเดิมหรือมากกว่า ช่วยให้เกษตรกรลดต้นทุนค่าปุ๋ยลงได้ ทั้งยังตอบโจทย์การทำเกษตรปลอดภัยและเกษตรอินทรีย์อีกด้วย ที่สำคัญเกษตรกรยังจำหน่ายแหนแดงสดเพื่อเพิ่มรายได้ได้อีกทางหนึ่ง ดังนั้นแหนแดงจึงเป็นกลไกชีวภาพที่เข้ามาช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต ช่วยยกระดับรายได้ของเกษตรกร ช่วยลดก๊าซเรือนกระจก และช่วยรักษาสภาพแวดล้อมได้อย่างยั่งยืน

opabo

29 ม.ค. 2023