อธิบดีกรมชลฯติดตาม “โครงการขุดลอกหนองแสงฯ” เพิ่มประสิทธิภาพบริหารจัดการน้ำ

อธิบดีกรมชลประทาน ประพิศ จันทร์มา ติดตามความก้าวหน้า”โครงการขุดลอกหนองแสงฯ” จ.ขอนแก่น เพิ่มความจุระดับเก็บกักและก่อสร้างอาคารบังคับน้ำ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการน้ำเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของราษฎรในพื้นที่ให้มีน้ำอุปโภค บริโภคในภาคการเกษตรอย่างเพียงพอ

opabo

20 เม.ย. 2022

ครม.อนุมัติงบฯกว่า 2 พันล้านช่วย”เกษตรกร”ประสบปัญหาโควิด-19

คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติงบประมาณรายจ่ายงบกลาง รายการเงินสำรองจ่ายเพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจำเป็นเพื่อดำเนินโครงการช่วยเหลือ “เกษตรกร” ที่ประสบปัญหาจากการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด – 19) วงเงินรวมทั้งสิ้น 2,054,053,900 บาท ตามที่กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมเสนอ

opabo

19 เม.ย. 2022

ระวัง”โรคใบด่างจุดวงแหวนมะละกอ”

จากสภาพอากาศร้อนชื้นและมีฝนตกในระยะนี้ อาจส่งผลกระทบให้ “มะละกอ”เกิดโรคได้ง่าย เกษตรกรผู้ปลูกมะละกอให้เตรียมรับมือ”โรคใบด่างจุดวงแหวน”

opabo

19 เม.ย. 2022

กรมส่งเสริมการเกษตร ทำคู่มือถอดบทเรียนสร้างความเข็มแข็งให้เกษตรกร

กรมส่งเสริมการเกษตร ดำเนินการจัดชั้นคุณภาพพร้อมถอดบทเรียนแปลงใหญ่ สร้างแนวทางการพัฒนาให้เกษตรกรมีความเข้มแข็งที่ยั่งยืน

ขุนพิเรนทร์

19 เม.ย. 2022

รองผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลา​ นำหญ้าพระราช​ทาน ช่วยแก้ปัญหาควายน้ำบ้านขาว​

นายอำพล​ พงศ์สุวรรณ​ รองผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลา นำหญ้าแห้งจาก​ ศูนย์ฯสตูล​ ​จำนวน​​ 200 ฟ่อน​ (4,000 กก.)​ มาให้ความช่วยเหลือเพื่อบรรเทาความเดือดร้อนเฉพาะหน้า​ มอบให้นายสมพงษ์​ ทองใส​ ประธานกลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงควายตำบลบ้านขาว​ ตัวแทนเกษตรกรผู้เลี้ยงควาย​ ต.บ้านขาว​ ที่ได้รับความเดือดร้อนประะมาณ 937 ตัว​

ขุนพิเรนทร์

18 เม.ย. 2022

เกษตรฯ เตรียมความพร้อมเกษตรกรสู่มืออาชีพ ผลิตเมล็ดพันธุ์พืชไร่ใช้น้ำน้อยปลูกช่วงแล้ง

กรมวิชาการเกษตร เสริมแกร่งเกษตรกรปั้นขึ้นแท่นผู้ผลิตเมล็ดพันธุ์มืออาชีพ รุดถ่ายทอดเทคโนโลยีผลิตเมล็ดพันธุ์ 2 พืชไร่ใช้น้ำน้อยรองรับปรับเปลี่ยนพื้นที่ปลูกข้าวไม่เหมาะสม นำร่องถั่วเขียวชัยนาท 3 และข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ลูกผสมนครสวรรค์ 5 ให้ผลผลิตสูง ทนแล้ง มีตลาดรองรับ ช่วยแก้ปัญหาเมล็ดพันธุ์แพงและขาดแคลน

papimon

18 เม.ย. 2022

ม.มหิดล – ไบโอเทค ค้นพบ “โพรไบโอติกส์ต้านโรคสัตว์น้ำ” จากการวิจัยในระดับ “ยีน” ครั้งแรก

ความหายนะทางเศรษฐกิจจากการที่เกษตรกรฟาร์มกุ้งไทยส่วนใหญ่ต้องประสบจากอุบัติการณ์ “โรคกุ้งตายด่วน” ยกบ่อภายในระยะเวลาอันรวดเร็วนั้น ไม่ใช่เรื่องของชะตากรรม แต่สามารถพิสูจน์ได้โดยนักวิจัยจากมหาวิทยาลัยมหิดลแล้วว่า สามารถแก้ไขปัญหาดังกล่าวได้โดยการใช้ “องค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์”

papimon

18 เม.ย. 2022
1 60 61 62