นักวิทย์จีนพบยีนสำคัญ เสริมแกร่งรากข้าวโพด ทนทานการหักล้ม

เมื่อไม่นานนี้ นักวิจัยชาวจีนได้ค้นพบยีนสำคัญในข้าวโพด ที่ช่วยเพิ่มความต้านทานต่อการหักล้มของระบบราก (root lodging)

nantnaphat

10 เม.ย. 2023

นักวิทย์จีนพบ ‘พืชนอนหลับ’ เก่าแก่สุด 250 ล้านปี

การค้นพบของทีมนักวิจัยนานาชาติที่เผยแพร่ในวารสารเคอร์เรนต์ ไบโอโลจี (Current Biology) เมื่อวันพฤหัสบดี (16 ก.พ.) ระบุว่านิกทีนาสตี (Nyctinasty) หรือต้นไม้นอน ซึ่งเป็นการเคลื่อนไหวของพืชที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงของกลางวันและกลางคืน อาทิ การหุบหรือกางใบ อาจมีมาตั้งแต่เมื่อ 250 ล้านปีก่อน

nantnaphat

17 ก.พ. 2023

นักวิทย์จีนออกแบบ ‘จักรกลจิ๋วเปลี่ยนสี’ เลียนแบบปลาหมึก

ทีมนักประดิษฐ์หุ่นยนต์ของจีนได้ออกแบบจักรกลขนาดเล็กมาก ซึ่งสามารถเลียนแบบ “ปลาหมึก” ที่มีเม็ดสีของเซลล์เปลี่ยนแปลงสีสันตามความเครียดทางเคมี

nantnaphat

3 ม.ค. 2023

เตือนเฝ้าระวัง! “โควิดเดลตาครอน XBC” แพร่เชื้อเร็ว ลูกผสมระหว่าง “เดลตา” และ “โอมิครอน BA.2” พบระบาดในฟิลิปปินส์กว่า 193 ราย

นักวิทยาศาสตร์ทั่วโลกจับตามอง ‘เดลตาครอน’ ซึ่งในช่วงการระบาดของโควิดปลายปีที่ 3 ซึ่งโอมิครอนกำลังอ่อนกำลังลงดูเหมือน ‘เดลตาครอน’ หลายสายพันธุ์จะระบาดขึ้นมาแทนที่ เช่น XBC, XAY, XBA และ  XAW โดยเฉพาะเดลตาครอน “XBC” มีการกลายพันธุ์ต่างไปจากโควิด สายพันธุ์ดั้งเดิม “อู่ฮั่น” มากที่สุดถึงกว่า “130” ตำแหน่ง จากการถอดรหัสพันธุ์กรรมทั้งจีโนมของ “เดลตาครอน” ประเมินว่าเป็นไวรัสโควิดที่มีศักยภาพในการโจมตีปอดอย่าง “เดลตา” และอาจแพร่ระบาดได้รวดเร็วเหมือน “โอมิครอน” 

nantnaphat

14 พ.ย. 2022

ฟอสซิล 200 ล้านปี เผยจุดเชื่อมโยง ‘แมลงวางไข่-แมลงล่าไข่’ ในใบไม้

คณะนักวิทยาศาสตร์จีนเปิดเผยปรากฏการณ์ทางธรรมชาติบนซากฟอสซิลพืชจากภูมิภาคตะวันตกเฉียงใต้ของจีน ซึ่งเป็นปรากฏการณ์แมลงที่มีชีวิตอยู่เมื่อราว 200 ล้านปีก่อนได้วางไข่บนใบไม้ และมีแมลงชนิดอื่นๆ มากินไข่เหล่านี้

nantnaphat

12 พ.ย. 2022

นักวิทย์จีน-สหรัฐฯ พบ‘แบคทีเรียลำไส้’ช่วยลดอันตรายจากบุหรี่

งานวิจัยซึ่งเผยแพร่ในวารสารเนเจอร์ ระบุว่าคณะนักวิทยาศาสตร์ของจีนและสหรัฐฯ พบชนิดของแบคทีเรียในลำไส้มนุษย์ที่สามารถย่อยสลายนิโคตินได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งเป็นสารอันตรายในยาสูบที่ก่อให้เกิดอาการเสพติดและความเสี่ยงต่อสุขภาพ อาทิ โรคไขมันพอกตับ

nantnaphat

22 ต.ค. 2022

นักวิทย์ มอ.ปัตตานี ค้นพบปูชนิดใหม่ของโลกในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่างของไทย ตั้งชื่อ”ปูมดแดง อาจารย์ซุกรี” 

คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.อ.ปัตตานี โพสต์ข้อความผ่าน FB ระบุว่า คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.อ.ปัตตานี  ขอแสดงความยินดี คุณพัน ยี่สิ้น บุคลากรสาขาวิชาวิทยาการเกษตรและประมงคุณเรืองฤทธิ์ พรหมดำ และทีมงาน ที่ได้ค้นพบปูชนิดใหม่ของโลก

nantnaphat

16 ต.ค. 2022

นักวิทย์จีนพบข้อมูล ‘ลาวาภูเขาไฟ 4 ชั้น’ บริเวณจุดลงจอดยานฉางเอ๋อ-5 บนดวงจันทร์

ศูนย์วิทยาศาสตร์อวกาศแห่งชาติจีน (NSSC) สังกัดสถาบันบัณฑิตวิทยาศาสตร์จีน (CAS) เผยว่าทีมวิจัยจากจีนได้ค้นพบหลักฐานทางธรณีวิทยาของลาวาภูเขาไฟซึ่งเคยไหลท่วมบริเวณพื้นที่ที่ยานฉางเอ๋อ-5 ในภารกิจสำรวจดวงจันทร์ของจีนลงจอด เป็นจำนวนอย่างน้อยสี่ชั้น

nantnaphat

18 ก.ย. 2022

นักวิทย์จีนเชื่อม”โครโมโซม”ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมแบบเขียนโปรแกรมได้เป็นครั้งแรกในโลก

เมื่อเร็ว ๆ นี้ วารสารวิชาการสากล “Science” ได้เผยแพร่ผลงานเชิงนวัตกรรมของนักวิทยาศาสตร์จีนรายการหนึ่งผ่านทางออนไลน์ นั่นคือ การบรรลุการเชื่อมโครโมโซมของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมแบบเขียนโปรแกรมได้เป็นครั้งแรกในโลก หรือก็คือ การจัดเรียงโครโมโซมใหม่ จนสร้างลูกหนูที่มีโครโมโซมใหม่ขึ้นมา

nantnaphat

31 ส.ค. 2022

(มีคลิป)นักวิทย์จีนยัน‘ยูนนานโอโซอัน’เป็นสัตว์มีกระดูกสันหลังเก่าแก่ที่สุดในโลก

คณะนักบรรพชีวินวิทยาของจีน ใช้เทคนิคการทดลองขั้นสูงจนสามารถยืนยันได้ว่า “ยูนนานโอโซอัน” (yunnanozoans) สัตว์รูปร่างคล้ายปลาลึกลับที่เคยมีชีวิตอยู่เมื่อ 518 ล้านปีก่อน เป็นสัตว์มีกระดูกสันหลังเก่าแก่ที่สุดของโลก

nantnaphat

9 ก.ค. 2022

(มีคลิป)นักวิทยาศาสตร์จีน ติดตามกระบวนการการเกิดฝน”ที่ราบชิงไห่-ทิเบต”

นักวิทยาศาสตร์จีนระดมทีมติดตามกระบวนการการเกิดฝนบนที่ราบสูงชิงไห่-ทิเบต เพื่อคลี่คลายข้อสงสัยของความเปลี่ยนแปลง

nantnaphat

6 ก.ค. 2022